ดาวหาง ISON - TopicsExpress



          

ดาวหาง ISON เดินทางเป็นระยะทาง 5ล้านปี หรือมากกว่านั้น จากเมฆ Oort จนถึงดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะนี้ จะมาสิ้นสุดการเดินทางในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2556 หรือไม่ Piyacheep S.Vatcharobol ได้แชร์ รูปภาพ ของ The Sun Today: Solar Facts and Space Weather ๒๐.๓๐ น. วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน เวลาสยามประเทศตามข่าวดาวหางไอซอนกันนะครับ #ISON has been traveling for 5+ million years from the Oort cloud to reach the sun. Will the journey end on Nov. 28th? Tune in to find outgo.nasa.gov/CometISONHangout live from the SDO Mission Operations Center at NASA Goddard at 1 pm EST (18 UT). #willitbreakup More on Comet ISON: Comet ISON Overview and Updates :: The Sun Today เมฆออร์ต (อังกฤษ: Oort cloud) คือ ชั้นเมฆในอวกาศที่ล้อมรอบระบบสุริยะอยู่เป็นทรงกลม บริเวณเมฆเหล่านี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ออกไปราว 50,000 - 100,000 หน่วยดาราศาสตร์ จากดวงอาทิตย์ ไกลออกไปจากขอบระบบสุริยะรอบนอก ตำแหน่งของเมฆออร์ตอยู่ในระยะความห่าง 1 ใน 4 ของดาวแคระแดงพร็อกซิมาคนครึ่งม้า ในกลุ่มเมฆออร์ตนี้ มีวัตถุพ้นดาวเนปจูน อย่างดาวเคราะห์แคระ 90377 เซดนา ที่ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 อยู่ด้วย วัตถุในกลุ่มเมฆออร์ตคือเศษเหลือจากการสร้างดาวเคราะห์ เป็นก้อนน้ำแข็งสกปรก มีส่วนประกอบไปด้วย น้ำแข็ง คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน แอมโมเนีย ฝุ่น และ หิน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ไม่กี่กิโลเมตรไปจนถึงหลายสิบกิโลเมตร นักดาราศาสตร์เชื่อกันว่ากลุ่มเมฆออร์ตเป็นแหล่งต้นกำเนิดของดาวหาง คือ เข้าใจว่า เมฆนี้ เป็นเสมือนเปลือกที่ห่อหุ้ม ป้องกันสุริยะจักรวาลนี้ จากรักสีด้านนอกอีกทีหนึ่งครับ รูปขนาดเล็ก
Posted on: Thu, 28 Nov 2013 03:27:25 +0000

Trending Topics



Recently Viewed Topics




© 2015