A deer of the first herd / - TopicsExpress



          

A deer of the first herd / อุปมาฝูงเนื้อฝูงแรก 2. Bhikkhus, a deer-trapper does not lay down bait for a deer herd intending thus: May the deer herd enjoy this bait that I have laid down and so be long-lived and handsome and endure for a long time: A deer-trapper lays down bait for a deer herd intending thus: The deer herd will eat food unwarily by going right in amongst the bait that I have laid down; by so doing they will become intoxicated; when they are intoxicated, they will fall into negligence; when they are negligent, I can do with them as I like on account of this bait: 3. Now the deer of the first herd ate food unwarily by going right in amongst the bait that the deer-trapper had laid down; by so doing they became intoxicated; when they were intoxicated, they fell into negligence; when they were negligent, the deertrapper did with them as he liked on account of that bait. That is how the deer of the first herd failed to get free from the deertrappers power and control. 7. Bhikkhus, I have given this simile in order to convey a meaning. This is the meaning: Bait is a term for the five cords of sensual pleasure. Deer-trapper is a term for Mara the Evil One. The deer-trappers following is a term for Maras following. Deer herd is a term for recluses and brahmins. 8. Now recluses and brahmins of the first kind ate food unwarily by going right in amongst the bait and the material things of the world that Mara had laid down; by so doing they became intoxicated; when they were intoxicated, they fell into negligence; when they were negligent, Mara did with them as he liked on account of that bait and those material things of the world. That is how the recluses and brahmins of the first kind failed to get free from Maras power and control. ภิกษุทั้งหลาย พรานเนื้อมิได้ปลูกหญ้าไว้สำหรับฝูงเนื้อ ด้วยคิดว่า เมื่อฝูงเนื้อกินหญ้าที่เราปลูกไว้นี้ จะมีอายุยั่งยืน มีผิวพรรณ มีชีวิตอยู่ยืนนาน โดยที่แท้ พรานเนื้อปลูกหญ้าไว้สำหรับฝูงเนื้อ ด้วยมีความประสงค์ว่า ฝูงเนื้อเข้ามาสู่ป่าหญ้าที่เราปลูกไว้นี้แล้ว จักลืมตัวกินหญ้า เมื่อเข้ามาแล้วลืมตัวกินหญ้าก็จักมัวเมา เมื่อมัวเมา ก็จักประมาท เมื่อประมาท ก็จักถูกเราทำเอาได้ตามชอบใจในป่าหญ้านี้ ฝูงเนื้อฝูงแรก เข้าไปสู่ป่าหญ้าที่ปลูกไว้ของพรานเนื้อ ลืมตัวกินหญ้าอยู่ เมื่อเข้าไปแล้วลืมตัวกินหญ้าอยู่ก็มัวเมา เมื่อมัวเมาก็ประมาทเมื่อประมาทก็ถูกพรานเนื้อทำเอาได้ตามชอบใจในป่าหญ้านั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ฝูงเนื้อฝูงแรกนั้นก็ไม่รอดพ้นอำนาจของพรานเนื้อได้ อุปไมยสมณพราหมณ์กับฝูงเนื้อ ภิกษุทั้งหลาย เราอุปมาให้ฟัง เพื่อให้เข้าใจเนื้อความได้ชัดขึ้น ในคำอุปมานั้น มีอธิบายดังนี้:- คำว่า ป่าหญ้า เป็นชื่อของปัญจกามคุณ. คำว่า พรานเนื้อ เป็นชื่อของมารผู้มีบาปธรรม คำว่า บริวารของพรานเนื้อ เป็นชื่อของบริวารของมาร. คำว่า ฝูงเนื้อ เป็นชื่อของสมณพราหมณ์ทั้งหลาย. สมณพราหมณ์พวกที่หนึ่ง เข้าไปสู่ปัญจกามคุณของมารอันเป็นโลกามิสแล้ว ลืมตัว บริโภคปัญจกามคุณ เมื่อเธอเหล่านั้นเข้าไปในปัญจกามคุณนั้น ลืมตัวบริโภคปัญจกามคุณก็มัวเมา เมื่อมัวเมาก็ประมาท เมื่อประมาทก็ถูกมารทำเอาได้ตามใจชอบในปัญจกามคุณนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ สมณพราหมณ์พวกที่หนึ่งนั้นก็ไม่พ้นอำนาจของมารไปได้ 9. Upamā kho me ayaṃ bhikkhave katā atthassa viññāpanāya ayañcettha1 attho: nivāpoti kho bhikkhave pañcannetaṃ kāmaguṇānaṃ adhivacanaṃ. Nevāpikoti kho bhikkhave mārassetaṃ pāpimato adhivacanaṃ. Nevāpikaparisāti kho bhikkhave māraparisāyetaṃ adhivacanaṃ. Migajātāti kho bhikkhave samaṇabrāhmaṇānetaṃ adhivacanaṃ. 10. Tatra bhikkhave paṭhamā samaṇabrāhmaṇā amuṃ nivāpaṃ nivuttaṃ mārassa amūni ca lokāmisāni anupakhajja mucchitā bhojanāni bhuñjiṃsu. Te tattha anupakhajja mucchitā bhojanāni bhuñjamānā madaṃ āpajjiṃsu,- Mattā samānā pamādaṃ āpajjiṃsu. Pamattā samānā yathākāmakaraṇīyā ahesuṃ mārassa amusmiṃ nivāpe amusmiñca lokāmise. Evaṃ hi te bhikkhave paṭhamā samaṇabrāhamaṇā na parimucciṃsu mārassa iddhānubhāvā. Seyyathāpi te bhikkhave paṭhamā migajātā, tathūpame ahaṃ ime paṭhame samaṇabrāhmaṇe vadāmi. [๔/๓๐๖] อุปมา โข เม อยํ ภิกฺขเว กตา อตฺถสฺส วิญฺญาปนาย ฯ อยญฺเจเวตฺถ อตฺโถ ฯ นิวาโปติ โข ภิกฺขเว ปญฺจนฺเนตํ กามคุณานํ อธิวจนํ ฯ เนวาปิโกติ โข ภิกฺขเว มารสฺเสตํ ปาปิมโต อธิวจนํ ฯ เนวาปิกปริสาติ โข ภิกฺขเว มารปริสาเยตํ อธิวจนํ ฯ มิคชาตาติ โข ภิกฺขเว สมณพฺราหฺมณานเมตํ อธิวจนํ ฯ [๔/๓๐๗] ตตฺร ภิกฺขเว ปฐมา สมณพฺราหฺมณา อมุง นิวาปํ นิวุตฺตํ มารสฺส อมูนิ จ โลกามิสานิ อนูปขชฺช มุจฺฉิตา โภชนานิ ภุญฺชึสุ เต ตตฺถ อนูปขชฺช มุจฺฉิตา โภชนานิ ภุญฺชมานา มทํ อาปชฺชึสุ มตฺตา สมานา ปมาทํ อาปชฺชึสุ ปมตฺตา สมานา ยถากามกรณียา อเหสุง มารสฺส อมุสฺมึ นิวาเป อมุสฺมึ จ โลกามิเส เอวญฺหิ เต ภิกฺขเว ปฐมา สมณพฺราหฺมณา น ปริมุจฺจึสุ มารสฺส อิทฺธานุภาวา ฯ
Posted on: Mon, 12 Jan 2015 22:43:40 +0000

Trending Topics



Recently Viewed Topics




© 2015